Django คือ Python web Framework หรือ พูดง่ายๆก็คือ Framework ที่ใช้ในการพัฒนาWebsite โดยการใช้ภาษาPython
Terminal
Step: Zero — เชคว่ามี Django อยู่แล้วหรือไม่?
python -m django — version
- No module named django : ยังไม่มีdjango
0. ก่อนอื่น สร้าง Virtual Environment
เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการสร้าง Projects ในภายภาคหน้าที่มี Environment ต่างกัน โดยใช้คำสั่ง
การสร้าง virtual environment ช่วยในการแยก environment ในแต่ละ project หมายความว่า ในแต่ละ application เราจะเรียกใช้ packages และmodules ต่างๆ ซึ่งในหลายๆครั้ง เราจำเป็นที่จะใช้ specific version of library สมมุติว่า Application A ต้องการใช้ Version 1.0 ของ Module X ในขณะที่ Application B ต้องการใช้ Version2.0 ของ Module X ฉะนั้น หากเราไม่แยก Virtual environment ไม่ Application A ก็ Application B จะไม่สามารถทำงานได้
0. สร้าง Floder สำหรับ Project A
ใช้คำสั่ง mkdir xxx (xxx — ชื่อfloder) ในที่นี้ใช้ชื่อว่า firstcollection
1. Create New Project
1.1 สร้างโปรเจคแรก ตั้งชื่อว่า first project : ใช้ cd เพื่อเข้าไปในfloder firstproject
ในทุกๆProject ประกอบไปด้วย
1.1.1 Virtual Environment : ใช้คำสั่ง virtualenv -p /usr/local/bin/python3 env
virtualenv : called virtualenv
-p : tells virtualenv the path to python version (ในกรณีนี้ใช้ python3)
env : environment name (ใช้อะไรก็ได้)
- Activate environment ใช้คำสั่ง source env/bin/activate (จะเห็นว่าเมื่อใช้คำสั่งนี้ ในterminal จะมี (env) ขึ้นข้างหน้า command line
- Install django ใช้คำสั่ง pip3 install django
— ใช้ pip3 สำหรับ python3 หรือ pip สำหรับpython2
— หากต้องการระบุ versionของ django ให้ใช้ pip3 install django ==ตามด้วยversionที่ต้องการ เช่น pip3 install django == 1.7.11(checkout available version at https://www.djangoproject.com/download/)
1.1.2 Applications : ใช้คำสั่ง django-admin startproject applicationA
django-admin : Django’s command-line utility for administrative tasks
startproject : Django’s command for start new project
applicationA : Project’s name
**project ต้องอยู่ level เดียวกับenv**
— ApplicationA แรกคือ root directory ซึ่งไม่เกี่ยวอะไรกับDjango; สามารถเปลี่ยนชื่อได้ตามต้องการ ในที่นี้จะเปลี่ยนเป็น root
— manage.py คือ Django command-line
- ใช้คำสั่ง cd เพื่อเข้าไปในroot เพื่อทำการสร้างapplication ชื่อว่า appA และใช้คำสั่ง python manage.py startapp appA (เนื่องจาก Applicationที่เราต้องการสร้างนั้นต้องอยู่level เดียวกับmanage.py)
python manage.py : Django’s command
startapp : Django’s command to create app
appA : Application’s name
2. Write your first views.py
2.1 เปิด appA/views.py ใน editor ใส่ข้อมูลตามนี้ลงไป
from django.http import HttpResponse
def index(request):
ans = “Hello this printed from your views.py in Django’s appA”
return HttpResponse(ans)
2.2 สร้าง file urls.py ใน appA ใส่ข้อมูลตามนี้
from django.urls import pathfrom . import views #called views.py in appAurlpatterns = [
#called def index in appA/views.py
path('', views.index, name='index'),
]
2.3 จากนั้น เปิด floder applicationA เพื่อให้ชี้ไปที่ appA.urls ใส่ข้อมูลตามนี้
from django.contrib import admin
from django.urls import include, pathurlpatterns = [
path('appA/', include('appA.urls')),
path('admin/', admin.site.urls),
]
3. Verify if it’s working..
— กลับมาหน้า terminal ใช้คำสั่ง python manage.py runserver
- หาก มี error ขึ้นตามด้านบนให้ quit server โดยใช้ Control+c ก่อนแล้ว พิมพ์ คำสั่ง ต่อไปนี้ python manage.py migrate แล้วจึงเรียก runserver อีกครั้ง
จากนั้นให้เข้า http://127.0.0.1:8000/appA/
Credit goes to these following resources: